บันทึกที่ ๑ กลุ่ม จอร์จ วอชิงตัน, บันทึกที่ ๒ กลุ่ม จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัตช์, บันทึกที่ ๓ กลุ่มตูน บอดี้สแลมด์, บันทึกที่ ๔ กลุ่มปัญญา นิรันดร์กุล, บันทึกที่ ๕ กลุ่มอับบราฮัม ลินคอล์น, บันทึกที่ ๖ บารัค โอบามา, กลุ่ม จอมพล ป. พิบูลสงคราม
กลุ่มสืบ นาคะเสถียร
ปัญหาและสาเหตุ
- ถนนเป็นหลุมเป็นบ่อ
- สร้างมานาน
- ประสิทธิภาพจึงลดลง
- ไม่มีการปรับปรุงดูแล
- ห้องเรียนสกปรก
- ไม่ได้รับการดูแลทำความสะอาด
- นำอาหารไปรับประทานแล้วไม่นำไปทิ้ง
- ปัญหาขยะ
- ทิ้งขยะไม่ลงถัง
- กินไหนทิ้งนั่น
- สุนัขคุัยขยะ
- ขาดจิตสำนึกที่ดี
- ไม่มีแผนที่เดินรถราง
- ไม่มีจุดบริการที่ชัดเจน
- ไม่มีแผนที่เดินรถ
- ไฟถนนมืด
- งบประมาณไม่เพียงพอ
- สนามไม่มีอัฒจันทร์
- งบประมาณไม่พอ
- จัดสรรเงินทุนไม่ดี
ผลกระทบ
- ถนนเป็นหลุมเป็นบ่อ
- ส่งผลต่อการขับขี่
- เครื่องยนต์เสียหาย
- ห้องเรียนสกปรก
- เป็นแหล่งสะสมเชื้อโรค
- บรรยากาศไม่น่าเรียน
- เกิดฝุ่นละออง ภูมิแพ้
- ปัญหาขยะ
- มหาวิทยาลัยสกปรก
- ส่งกลิ่นเหม็น
- นิสิตไม่มีความสุข
- ไม่มีแผนที่เดินรถราง
- รอผิดที่
- รอนาน
- รถไม่จอด
- ไฟถนนมืด
- เกิดอุบัติเหตุ
- เกิดการปล้อนทรัยพสิน
- สนามไม่มีอัฒจันทร์
- สนามแออัด
- เปลี่ยว อันตราย
วิธีการแก้ปัญหาที่เสนอโดยกลุ่ม สืบ นาคะเสถียร แสดงดังแผนผังความคิดด้านบน หากวิเคราะห์ด้วยเงื่อนไข ๓ ประการ เรื่องที่ค่อนข้างใหม่และนิสิตให้ความสนใจคือ รถราง ประเด็นที่น่าสนใจคือ
- มหาวิทยาลัยมีรถรางกี่คัน
- แต่ละวันมีนิสิตใช้รถรางประมาณกี่คน
- แผนที่เดินรถเป็นอย่างไร ใช้เวลาเท่าใดต่อรอบ แต่ละวัน รถที่มีรองรับได้กี่คน
- ความต้องการใช้รถเป็นเท่าใด ต้องมีกี่คนถึงจะพอ
- ค่าใช้จ่ายคุ้มค่าหรือไม่อย่างไร
- ฯลฯ
ทุกกลุ่ม หากจะได้คะแนนเต็ม ต้องศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการอย่างเป็นระบบครับ สู้ ๆ ครับ ... อยากรู้ข้อมูลที่แท้จริง มาแลกเปลี่ยนกัน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น