บันทึกที่ ๑ กลุ่ม จอร์จ วอชิงตัน, บันทึกที่ ๒ กลุ่ม จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัตช์, บันทึกที่ ๓ กลุ่มตูน บอดี้สแลมด์, บันทึกที่ ๔ กลุ่มปัญญา นิรันดร์กุล
กลุ่มอับบราฮัม ลินคอล์น
ปัญหาและสาเหตุ
- ด้านการคมนาคม
- การใช้งานที่ไม่เหมาะสม
- น้ำท่วมขัง
- การจัดการระบบระบายน้ำ
- ด้านสภาพแวดล้อม
- ฝุ่น
- ขยะ
- นิสิตขาดจิตสำนึก
- จำนวนถังขยะ
- ด้านอาคารสถานที่
- อุปกรณ์ในห้องเรียนชำรุด
- อายุการใช้งาน
- ห้องน้ำชำรุด
- ที่จอดรถไม่เพียงพอ
- ด้านการลงทะเบียน
- ระบบมีความล่าช้า
- ไม่รองรับผู้ใช้จำนวนมาก
- ด้านการจราจร
- นิสิตขาดวินัย
- ไม่สวมหมวกกันน็อค
- ไม่มารยาทในการขับขี่
- ฝ่าฝืนกฎจราจร
ผลกระทบ
- ด้านการคมนาคม
- เกิดความเสียหายต่อยานพาหนะ
- เกิดอุบัติเหตุ
- เดินทางไม่สะดวก
- ด้านสภาพแวดล้อม
- ก่อโรคระบบทางเดินหายใจ
- ส่งกลิ่นไม่พึงประสงค์
- ด้านอาคารสถานที่
- ที่จอดรถไม่เพียงพอ
- ประสิทธิภาพในการเรียนไม่ดี
- สุขอนามัยไม่ดี
- ด้านการลงทะเบียนเรียน
- ทำให้ไม่ได้กลุ่มเรียนที่ต้องการ
- ทำให้ได้เรียนช้า
- ยากต่อการจัดตารางเรียน
- ด้านการจราจร
- เสียเวลาในการเดินทาง
- เกิดอุบัติเหตุ
กลุ่มอับบราฮัม มีมุมมองของผู้บริหาร มีวิธีคิดแบบโครงสร้าง แยกพิจารณาปัญหาเป็นหมวดหมู่ ขั้นตอนต่อไปคือ ต้องศึกษาสภาพปัญหาให้แน่ชัด ให้เห็นความรุนแรงของปัญหา โดยใช้ข้อมูลทั้งทางตรงหรือข้อมูลปฐมภูมิ จากการลงพื้นที่สังเกต และข้อมูลทางอ้อม หรือข้อมูลมือสอง หรือเรียกว่าข้อมูล ฑุติยภูมิ ซึ่งอาจได้จากการสืบค้น สอบถาม สัมภาษณ์ หรือขอข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มอับบราฮัม ต้องเลือกมาเพียงปัญหาหรือประเด็นเดียว โดยใช้หลักการ ๓ ห่วง ที่ตกลงกัน (อ่านได้ที่นี่)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น